03 กฎหมายที่เกี่ยวข้อง

เอกสารเกี่ยวกับงานแผนงานและงบประมาณ

พ.ศ.2566

แผนปฏิบัติราชการสำนักงานตำรวจแห่งชาติ ราย 5 ปี (พ.ศ.2566 – 2570)
แผนปฏิบัติราชการสำนักงานตำรวจแห่งชาติ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566

พ.ศ.2565

  1. แผนปฏิบัติราชการสำนักงานตำรวจแห่งชาติ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565
  2. การวิเคราะห์ความเสี่ยงตามหลักธรรมาภิบาลประกอบการจัดทำคำของบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565

พ.ศ.2564

  1. แผนปฏิบัติราชการสำนักงานตำรวจแห่งชาติ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564
  2. แผนปฎิบัติราชการสำนักงานยุทธศาสตร์ตำรวจประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564
  3. แนวทางปฏิบัติ เรื่อง การวิเคราะห์และจัดทำแผนบริหารความเสี่ยง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 (อยู่ระหว่างดำเนินการ)
  4. แนวทางปฏิบัติ เรื่อง การควบคุมภายในของ ตร. และหน่วยงานในสังกัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 (อยู่ระหว่างดำเนินการ)
  5. รายงานผลการดำเนินงาน ตามแผนปฏิบัติราชการ ตร. ประจำปีงบประมาณ 2564 (รอบ 6 เดือน)
  6. รายงานผลการปฏิบัติราชการ ตามแผนปฏิบัติราชการสำนักงานตำรวจแห่งชาติ รอบ 12 เดือน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564

พ.ศ.2563

  1. แผนปฏิบัติราชการสำนักงานตำรวจแห่งชาติ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563
  2. แผนปฎิบัติราชการสำนักงานยุทธศาสตร์ตำรวจประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563
  3. การจัดทำแผนบริหารความเสี่ยงของ ตร. ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563
  4. แนวทางปฏิบัติ เรื่อง การวิเคราะห์และจัดทำแผนบริหารความเสี่ยง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563
  5. แนวทางปฏิบัติ เรื่อง การควบคุมภายในของ ตร. และหน่วยงานในสังกัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563
  6. รายงานผลการดำเนินงาน ตามแผนปฏิบัติราชการ ตร. ประจำปีงบประมาณ 2563 (รอบ 12 เดือน)
  7. โครงการประเมินระดับความสำเร็จของ การดำเนินงานจากการใช้จ่ายงบประมาณ (PART) ของสำนักงานตำรวจแห่งชาติ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563
  8. ผลการประเมินโครงการประเมินประสิทธิภาพสถานีตำรวจและความเชื่อมั่นของประชาชนต่อการปฏิบัติงานของตำรวจ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563

พ.ศ.2562

  1. การดำเนินการเพื่อจัดการความเสี่ยงของ ตร. ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2562
  2. (เพิ่มเติม) แนวทางปฏิบัติ เรื่อง การควบคุมภายในของ ตร. และหน่วยงานในสังกัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2562 (ตามหลักเกณฑ์กระทรวงการคลัง)
  3. โครงการประเมินระดับความสำเร็จของ การดำเนินงานจากการใช้จ่ายงบประมาณ (PART) ของสำนักงานตำรวจแห่งชาติ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2562
  4. รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการประเมินประสิทธิภาพสถานีตำรวจและความเชื่อมั่นของประชาชนต่อการปฏิบัติงานของตำรวจ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2562

เอกสารอื่นๆ

  1. ภาษาอังกฤษสำหรับติดต่อราชการในอาเซียน (ASEAN)
  2. หลักสูตรการฝึกอบรมข้าราชการตำรวจชั้นสัญญาบัตร
  3. หลักสูตรการฝึกอบรมข้าราชการตำรวจชั้นประทวน
  4. การขอใช้สัญญาณไฟวับวาบ เสียงสัญญาณ ไซเรน รถฉุกเฉิน

แนวปฏิบัติในการจับหรือค้น

มาตรการป้องกันการแทรกแซง การใช้ดุลยพินิจ

แนวปฏิบัติในการใช้ดุลยพินิจไม่รับคำร้องทุกข์ในคดีอาญา

แนวปฏิบัติในการสอบปากคำของพนักงานสอบสวน

สิทธิของผู้เสียหายหรือเหยื่ออาชญากรรมและสิทธิผู้ต้อง

การค้น

🔻

อำนาจการจับและการตรวจค้นของเจ้าพนักงานตำรวจ

อำนาจการจับหรือค้นบุคคลของเจ้าพนักงานตำรวจ-1

มาตรการป้องกันการแทรกแซง การใช้ดุลพินิจ

03-มาตราการป้องกันแทรกแซงการใช้ดุลยพินิจ

มาตรการป้องกันการแทรกแซงการใช้ดุลยพินิจ

419-2556-การอำนวยความยุติธรรมคดีอาญา

หลักนิติธรรมกับการอํานวยความยุติธรรมทางอาญา

แนวปฏิบัติในการสอบปากคำของพนักงานสอบสวน

แนวปฏิบัติในการสอบปากคำของพนักงานสอบสวน-1

แนวปฏิบัติในการสอบปากคำของพนักงานสอบสวน-2

สิทธิร้องทุกข์และถอนคำร้องทุกข์ต่อเจ้าพนักงานตำรวจ
• สิทธิในการฟ้องคดีอาญาและถอนฟ้องคดีอาญา
• สิทธิในการฟ้องคดีแพ่งที่เกี่ยวเนื่องกับคดีอาญา
• สิทธิในการขอเข้าเป็นโจทก์ร่วมกับพนักงานอัยการ
• สิทธิที่จะยื่นคำร้องในคดีอาญาที่พนักงานอัยการ
เป็นโจทก์ ขอให้บังคับจำเลยชดใช้ค่าสินไหมทดแทน
• สิทธิคัดค้านการปล่อยชั่วคราวผู้ต้องหา หรือจำเลยในกรณีที่ศาลรับฟ้องแล้ว
• สิทธิที่จะไม่ต้องตอบคำถามโดยตรงหรือโดยอ้อม ซึ่งอาจทำให้ผู้เสียหายในฐานะพยานถูกฟ้องคดีอาญา
• สิทธิในการรับรู้ความคืบหน้าของคดีและผลของคำพิพากษา
• สิทธิที่จะแสดงความคิดเห็นและข้อกังวลใจต่อศาล
• สิทธิขอให้ศาลตั้งทนายความให้
• สิทธิขอให้จัดให้มีการยืนยันหรือชี้ตัวผู้กระทำผิดในสถานที่
ที่เหมาะสมและมิให้ผู้เสียหายถูกมองเห็น
• สิทธิในการเข้าสู่กระบวนการไกล่เกลี่ยและประนอม ข้อพิพาทเพื่อเยียวยาค่าเสียหาย
• อื่น ๆ

1_คู่มือกรมคุ้มครองสิทธิ์-การช่วยเหลือทางการเงินแก่ผู้เสียหายและจำเลยในคดีอาญา

ผู้ต้องหา หมายถึง บุคคลผู้ถูกหาว่าได้กระทำผิดแต่ยังมิได้ถูกฟ้องต่อศาล (ป.วิ.อาญา มาตรา ๒ (๒)) ซึ่งผู้ต้องหาอาจเป็นผู้ที่ยังไม่ถูกจับกุมก็ได้ เมื่อผู้ต้องหาถูกจับกุมในเรื่องที่ถูกกล่าวหาว่ากระทำผิดอาญา โดยส่วนใหญ่พนักงานสอบสวนมักไม่ค่อยที่จะแจ้งสิทธิให้แก่ผู้ต้องหาให้ทราบ แต่จะทำลงในรายงานการสอบปากคำว่าได้มีการแจ้งสิทธิแล้วและให้ผู้ต้องหาเซ็นรับทราบ กรณีแบบนี้ถือว่าเป็นการการกระทำที่มิชอบตามกกฎหมาย ซึ่งส่วนใหญ่ชาวบ้านที่ไม่รู้กฎหมายก็จะถูกพนักงานสอบสวนกระทำเช่นนี้ ทำให้บางท่านบางรายถึงกับต้องติดคุกติดตารางหรือแพ้คดีไป ยกตัวอย่างเช่น คดีที่กำลังเป็นข่าวดัง คือ คดีที่คุณตา-คุณยาย เข้าไปเก็บเห็ดในเขตป่าสงวน แต่พนักงานสอบสวนมิได้แจ้งสิทธิให้ทราบ

ผู้ต้องหามีสิทธิดังนี้

            ๑. สิทธิแจ้งหรือขอให้เจ้าพนักงานแจ้งให้ญาติ หรือผู้ซึ่งผู้ถูกจับหรือผู้ต้องหาไว้วางใจทราบถึงการถูกจับกุมและสถานที่ที่ถูกควบคุมในโอกาสแรก (ป.วิ.อาญา มาตรา ๗/๑)

            ๒. สิทธิที่จะพบและปรึกษาผู้ที่จะเป็นทนายความสองต่อสอง

            ๓. สิทธิได้รับการเยี่ยมหรือติดต่อกับญาติตามสมควร

            ๔. สิทธิได้รับการรักษาพยาบาลโดยเร็วเมื่อเกิดการเจ็บป่วย

            ๕. สิทธิได้รับการแจ้งจากเจ้าพนักงานผู้จับว่าผู้ถูกจับหรือผู้ต้องหามีสิทธิตามข้อ ๑ ถึง ๔

            ๖. สิทธิที่จะได้รับการสอบสวนโดยเร็ว และได้รับทราบการแจ้งสิทธิต่างๆ จากพนักงานสอบสวน (ป.วิ.อาญา มาตรา ๑๓๔)

            ๗. สิทธิให้ทนายความหรือผู้ที่ตนไว้วางใจเข้าฟังการสอบปากคำของผู้ต้องหา (ป.วิ.อาญา มาตรา ๑๓๔/๓)

            ๘. สิทธิที่จะให้การหรือไม่ก็ได้ (ป.วิ.อาญา มาตรา ๑๓๔/๔)

            ๙. สิทธิที่จะไม่ถูกบังคับขู่เข็ญ ล่อลวง ให้สัญญาเพื่อให้การ (ป.วิ.อาญา มาตรา ๑๓๕)

            ๑๐. สิทธิของผู้ต้องหาที่เป็นเด็กและเยาวชนที่จะได้รับการสอบสวนคดีบางประเภทโดยมีนักจิตวิทยา นักสังคมสงเคราะห์ พนักงานอัยการและทนายความเข้าร่วมฟังการสอบสวน (ป.วิ.อาญา มาตรา ๑๓๔/๒)

            ๑๑. สิทธิที่จะได้รับการประกันตัว (ป.วิ.อาญา มาตรา ๘๔/๑, ๑๐๖)

            ๑๒. สิทธิร้องขอให้ศาลสั่งปล่อยตัวหากมีการควบคุมตัวโดยมิชอบ (ป.วิ.อาญา มาตรา ๙๐)

            ๑๓. สิทธิได้รับการจัดหาทนายกรณีคดีมีอัตราโทษประหารชีวิต หรือผู้ต้องหามีอายุไม่เกินสิบแปดปี และในคดีที่มีอัตราโทษจำคุกหากผู้ต้องหาไม่มีทนายและต้องการทนาย พนักงานสอบสวนต้องจัดหาทนายให้ (ป.วิ.อาญา มาตรา ๑๓๔/๑)

            ๑๔. สิทธิที่จะได้รับแจ้งถึงพฤติการณ์ และการกระทำที่ถูกกล่าวหา ก่อนการถูกแจ้งข้อกล่าวหา (ป.วิ.อาญา มาตรา ๑๓๔)

            ๑๕. สิทธิได้รับการจัดหาล่าม (ป.วิ.อาญา มาตรา ๑๓)

3_infoสิทธิของผู้ต้องหา

4_พ.ร.บ.ค่าตอบแทนผู้เสียหาย-และค่าทดแทนและค่าใช้จ่ายแก่จำเลยในคดีอาญา